รายงานการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
รายงานการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
(สำหรับแพทย์ในหลักสูตรปี 2562, สอบปี 2567, 2568)
องค์ประกอบรายงานการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
- ความเป็นมาและความสำคัญ
- วัตถุประสงค์ของการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
- ข้อมูลทั่วไปของสถานพยาบาล
ข้อมูลทั่วไปของสถานบริการที่ให้การบริบาลด้านเวชปฏิบัติครอบครัว
- ข้อมูลของผู้ป่วยที่ศึกษา (index case)
- Family background: ภูมิลำเนา ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน อุปนิสัย ประวัติการสมรส
Case approach
- ประวัติการเจ็บป่วย (อาการสำคัญ ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบันและในอดีต)
- การตรวจร่างกาย (โดยแพทย์ผู้เขียนรายงาน) การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
- การสรุปปัญหาของผู้ป่วย (Problem list)
5.Family census รายละเอียดของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนในบ้านเดียวกัน หรือ เป็นสมาชิกที่มีส่วนร่วมในการดูแล ประกอบด้วย
- ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ สิทธิการรักษา รายได้ของแต่ละคนในครอบครัว
- Family genogram
- แผนที่การเดินทาง จากสถานพยาบาลถึงบ้านผู้ป่วย พร้อมแสดงสถานที่ (landmark) ที่สำคัญ พร้อมระยะทาง
- ผังบ้าน : รายละเอียด และภาพประกอบเฉพาะบริเวณที่สำคัญ
- Whole person approach
– Biological status
– Psychological status
– Social status
– Spiritual status
- Time family flow chart
- Family orientation
- บอกรายละเอียดของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว บุคลิกภาพ อุปนิสัย ค่านิยม ตลอดจนความรู้สึกต่อการเจ็บป่วย ของตนเองและของผู้อื่น
- อุปนิสัย ผู้ป่วยคิดว่าสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนเป็นอย่างไร สัมพันธภาพระหว่างกันเป็นอย่างไร รู้สึกอย่างไรต่อความเจ็บป่วย
- Family as a unit
- ปัญหาร่างการ จิตใจ สังคม การตรวจร่างการของสมาชิกในครอบครัว และ ความคิด การดูแล และเอาใจใส่ของสมาชิก ต่อผู้ป่วย
- เป็นการดูภาพรวมของสมาชิกทุกคนในครอบครัวต่อการปรับตัวต่อโรค เป็น normal function หรือ dysfunctional family อย่างไร ให้อธิบาย
- Psycho figure แสดงความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในครอบครัว
14. การเยี่ยมบ้านครั้งที่ 1
- วัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้าน
- INHOMESSS
- สรุปประเด็น/ปัญหาจากการเยี่ยมบ้าน
- การ Management ที่บ้าน การแก้ไขปัญหาแบบ POMR
- แผนการติดตาม และการเยี่ยมบ้านครั้งต่อไป
15. การเยี่ยมบ้านครั้งต่อๆไป (ไม่ได้กำหนดว่ากี่ครั้ง แต่ต้องแสดงให้เห็นความต่อเนื่อง และบรรลุเป้าหมายการดูแลที่กำหนด) ในการเยี่ยมบ้านแต่ละครั้งให้แสดงข้อมูลอย่างน้อยตามหัวข้อเหล่านี้
- วัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้านครั้งนั้นๆ
- สรุปประเด็น/ปัญหาจากการเยี่ยมบ้าน แสดง Progression ของผู้ป่วย
- การ Management ในครั้งนั้นๆ การแก้ไขปัญหาแบบ POMR
- แผนการติดตาม และการเยี่ยมบ้านครั้งต่อไป
16.แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบ POMR แยกรายปัญหา แสดงการวิเคราะห์ปัญหา การประเมินสภาวะผู้ป่วย และการจัดการปัญหาอย่างเหมาะสมกับทรัพยากร
- การวินิจฉัยโรค ประเมินโรคและความเจ็บป่วยที่แท้จริงของผู้ป่วย
- ค้นหาพฤติกรรมเสี่ยง และสาเหตุ
- การอธิบายการวินิจฉัยโรค แนวทางการรักษา การใช้ยา พยากรณ์โรค การดูแลตนเองของบุคคล ครอบครัว และชุมชน แบบต่อเนื่อง
- การสืบค้นศักยภาพในการดูแลปัญหาของบุคคล ครอบครัว และชุมชน
- การให้คำปรึกษา แนะนำ วางแผนติดตามการรักษา
- การเขียนบันทึกการรักษา และ/ หรือ การส่งต่อ
- ข้อมูลที่บ่งถึงการยอมรับการรักษาของผู้ปว่ย
17..สรุปและประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง รวมถึงการวางแผนการรักษาที่เชื่อมโยง ดุลยภาพในการพึ่งบริการสุขภาพ
18.อุปสรรคในการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
19.ประโยชน์ที่ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับ
20.การวางแผนการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่องในอนาคต
21.บทสรุป ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
22.บรรณานุกรม
23.ประวัติผู้เขียน
รายงานการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
(สำหรับแพทย์ในหลักสูตรปี 2565, เริ่มเข้าเรียน ปีการฝึกอบรม 2566 หรือ แพทย์ที่ส่งงานตั้งแต่ปี 2569 เป็นต้นไป)
องค์ประกอบรายงานการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
- ความเป็นมาและความสำคัญ (ของแต่ละเคสที่เขียน)
- วัตถุประสงค์ของการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง (ของแต่ละเคสที่เขียน)
- ข้อมูลทั่วไปของสถานพยาบาล
ข้อมูลทั่วไปของสถานบริการที่ให้การบริบาลด้านเวชปฏิบัติครอบครัว
- ข้อมูลของผู้ป่วยที่ศึกษา (index case)
-
- Family background: ภูมิลำเนา ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน อุปนิสัย ประวัติการสมรส
Case approach
-
- ประวัติการเจ็บป่วย (อาการสำคัญ ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบันและในอดีต)
- การตรวจร่างกาย (โดยแพทย์ผู้เขียนรายงาน) การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
5.Family census รายละเอียดของสมาชิกในครอบครัวแต่ละคนในบ้านเดียวกัน หรือ เป็นสมาชิกที่มีส่วนร่วมในการดูแล ประกอบด้วย
-
- ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ การศึกษา อาชีพ สิทธิการรักษา รายได้
- Family genogram
- Psycho figure (อาจเขียนรวม หรือ แยกจาก Family genogram)
- แผนที่การเดินทาง จากสถานพยาบาลถึงบ้านผู้ป่วย พร้อมแสดงสถานที่ (landmark) ที่สำคัญ พร้อมระยะทาง
- ผังบ้าน : รายละเอียด และภาพประกอบเฉพาะบริเวณที่สำคัญ
- การเยี่ยมบ้านครั้งที่ 1
-
- วัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้าน
- INHOMESSS
- สรุปประเด็น/ปัญหาจากการเยี่ยมบ้าน
- การ Management ที่บ้าน
- แผนการติดตาม และการเยี่ยมบ้านครั้งต่อไป
- การเยี่ยมบ้านครั้งต่อๆไป (ไม่ได้กำหนดว่ากี่ครั้ง แต่ต้องแสดงให้เห็นความต่อเนื่อง และบรรลุเป้าหมายการดูแลที่กำหนด) ในการเยี่ยมบ้านแต่ละครั้งให้แสดงข้อมูลอย่างน้อยตามหัวข้อเหล่านี้
-
- วัตถุประสงค์การเยี่ยมบ้านครั้งนั้นๆ
- สรุปประเด็น/ปัญหาจากการเยี่ยมบ้าน แสดง Progression ของผู้ป่วย
- การ Management ในครั้งนั้นๆ
- แผนการติดตาม และการเยี่ยมบ้านครั้งต่อไป
- Whole person approach
-
- Biological status
- Psychological status
- Social status
- Spiritual status
- Functional status (กรณีผู้สูงอายุ)
- Family time flow chart
- Family orientation
- Family system
- Family structure
- Family life cycle
- Family role selection
- Family process (ปฏิสัมพันธ์ภายในครอบครัว)
- บอกรายละเอียดของสมาชิกแต่ละคนในครอบครัว บุคลิกภาพ อุปนิสัย ค่านิยม ตลอดจนความรู้สึกต่อการเจ็บป่วย ของตนเองและของผู้อื่น
- Family as a unit
- เป็นการดูภาพรวมของสมาชิกทุกคนในครอบครัวต่อการปรับตัวต่อโรค เป็น normal function หรือ dysfunctional family อย่างไร ให้อธิบาย
- การตอบสนองของครอบครัว ต่อภาวะความเจ็บป่วยที่เกิดขึ้น
- Family stress
- Family coping
- Family resource
- Impact on health
- บทบาทของชุมชนในการร่วมดูแลผู้ป่วย
- Community resource/ Social aspect ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลผู้ป่วยคนนี้เป็นอย่างไร
- ระบบส่งต่อ ระบบการเชื่อมโยงชุมชน service ที่เขาได้รับการดูแลมีความเชื่อมโยงอย่างไร
- แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบ POMR แยกรายปัญหา
-
- กำหนดปัญหาหลักของผู้ป่วยและครอบครัว
- ทบทวนทฤษฎีที่สัมพันธ์กับปัญหา (ให้ Review และสรุปเป็นข้อความของตนเอง หากพบว่ามีการคัดลอกมา จะไม่ตรวจทั้งฉบับ)
- แสดงการวิเคราะห์ปัญหา การประเมินสภาวะผู้ป่วย และการจัดการปัญหาที่ได้ทำ
- สรุปและประเมินผลการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
- อุปสรรค และข้อเสนอแนะในการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่อง
- ประโยชน์ที่ผู้ป่วยและครอบครัวได้รับ
- การวางแผนการดูแลผู้ป่วยเป็นครอบครัวอย่างต่อเนื่องในอนาคต
- บรรณานุกรม (แยกเคส)
- ประวัติผู้เขียน
หมายเหตุ
- กำหนดจำนวนหน้าไม่เกิน 100 หน้า ไม่รวมภาคผนวก
- เริ่มใช้สำหรับแพทย์ประจำบ้านที่เริ่มเข้าเรียน ปี 2566 (แพทย์ประจำบ้านชั้นปีที่ 2 ปัจจุบัน)